กัญชาเป็นยารักษาโรค สารสกัดกัญชาทางการแพทย์
กัญชาเป็นยารักษาโรค กัญชาทางการแพทย์ สารสกัดกัญชาทางการแพทย์ (Cannabis Based Medicine) คือ สารออกฤทธิ์ในกัญชาที่มีสรรพคุณในการรักษาโรคเป็นสารในกลุ่มแคนนาบินอยด์(Cannabinoidos) ได้แก่ เตตราไฮโดรแคนนาบินอยด์ (Tetrahydrocannabinol: THC) และแคนนาบิไดอัล (Cannabidiol: CBD)
- โรค หรือภาวะที่สามารถใช้สารสกัดกัญชาทางการแพทย์รักษาได้ มีข้อมูลงานวิจัยชัดเจน ได้แก่ ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ที่ได้รับยาเคมีบำบัด โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา ภาวะปวดปลายเส้นประสาทที่รักษาด้วยวิธีอื่น ๆ แล้วไม่ได้ผลภาวะกล้ามเนื้อหดเหร็งในผู้ที่เป็นโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง และภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้ใหญ่
- ผลข้างเคียงที่อาจขึ้นได้จากการใช้สารสกัดกัญชาทางการแพทย์ เช่น ง่วงซึม เวียนศีรษะ มองเห็นสีผิดปกติ คลื่นไส้ ท้องผูก ความจำ ความสามารถในการตัดสินใจ และควบคุมลดลง ความดันโลหิตต่ำ ปากแห้ง หูแว่ว และเกิดความผิดปกติทางจิต เช่น ปารสาทหลอน หรือซึมเศร้า ดอกกัญชาเป็นยารักษาโรค
กัญชาแต่ละสายพันธุ์จะมีสัดส่วนของสารออกฤทธิ์ที่แตกต่างกัน ทำให้ผลการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นได้แตกต่างกันตามไปด้วย จึงควรใช้ผลิตภัณฑ์สารสกัดกัญชาทางการแพทย์ที่ระบุปริมาณของสารออกฤทธิ์ชัดเจน และใช้ภายใต้กการดูแลของแพทย์เท่านั้น ทุกส่วนของต้นทำกัญชาเป็นยารักษาโรคได้ เว็บข่าวสารกัญชาแบบออนไลน์
สารกัญชาเป็นยารักษาโรค สกัดจากพืชกัญชามีประโยชน์ในการรักษาโรคอย่างไร
กัญชาเป็นยารักษาโรค กัญชามีสารปรกอบเรียกว่า Cannabinods จำนวนมาก โดยมีตัวหลัก คือ THC (Tetrahydrocannabidiol) และ CBD (Cannabidiol) ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ คือ ฤทธิ์ของ THC ต่อจิดประสาททำให้ผ่อนคลาย นอนหลับ ลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และ กระตุ้นให้อยากอาหาร ส่วน CBD มีฤทธิ์ช่วยลดการอักเสบ ลดอาการชักเกร็ง และมีคุณสมบัติยับยั้งการเจริญเติมโตของเซลล์เนื้องอกหลายชนิดในหลอดทดลอง สารสกัดกัญชาเป็นยารักษาโรค รักษาได้จริงตามตำรับตำรา ของไทยมาแต่โบราณได้ชากัญชาเอาไปทำยาต่าง ๆ ยาพื้นบ้าน และนำมาประกอบอาหารได้อีกด้วย แต่ต้องศึกษาให้ดีก่อนที่จะใช้มัน เพราะอาจจะเกิดผลข้างเคียงเกิดขึ้นได้ กัญชาเป็นยารักษาโรคต่างชาติยอมรับ
สารสกัด กัญชาเป็นยารักษาโรค สิ่งที่ผู้ป่วยเริ่มใช้สารสกัดกัญชาที่ต้องรู้
กัญชาเป็นยารักษาโรคเข้าใจข้อมูลเรื่องสารกัญชาก่อนการรักษา : สารสกัดกัญชาไม่ใช่ทางเลือกแรก ในการรักษา ใช้รักษาเสริมจากการรักษาตามมาตรฐาน ใบกัญชาเป็นยารักษาโรค มิใช่หยุดการรักษาที่มีอยู่ ผู้ป่วยต้องเข้าใจถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น การใช้สารสกัดกัญชาที่ได้มาตรฐานและทราบอัตราส่วนสาระสำคัญ ( THC และ CBD) ที่ชัดเจน เมื่อเริ่มใช้สารสกัดกัญชา ต้นกัญชาเป็นยารักษาโรค ควรเริ่มในปริมาณที่น้อยที่สุด หากยังไม่ได้ผลปรับเพิ่มในปริมาณช้า ๆ ควรมีผู้ดูแลอยู่ด้วยเมื่อเริ่มใช้ หากเกิดผลข้างเคียง ให้รีบนำผู้ป่วยพบแพทย์ทันที การให้สารสกัดกัญชาในครั้งแรกควรให้เวลาก่อนนอนและมีผู้ดูแลใกล้ชิด แจ้งให้แพทย์ทราบว่าใช้ยาประใดอยู่ สารสกัดกัญชาอาจส่งผลต่อยาบางชนิดที่ผู้ป่วยใช้เป็นประจำ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย กัญชาเป็นยารักษาโรคมะเร็งปอด
จะซื้อผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อการแพทย์เองได้หรือไม่
กัญชาเป็นยารักษาโรค สารสกัดกัญชาหรือยากัญชา ไม่มีวางจำหน่ายทั่วไป แม้ผู้ป่วยที่จะได้รับการรักษาด้วยยากัญชา ก็ไม่สามารถซื้อสารสกัดกัญชาใช้เอง แต่ต้องผ่านการวางแผนการรักษาจากแพทย์ นอกจากนี้บุคลากรทางการแพทย์ที่จะให้การรักษาด้วยสารสกัดกัญชา จะต้องผ่านการอบรม ก่อนจะจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับจากสถานที่ผลิตมาตฐานที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง โดยพิจารณารักษาด้วยวิธีอื่นก่อน เพราะยากัญชาไม่ใช่ตัวเลือกแรกในการรักษาโรค กัญชาเป็นยารักษาโรคได้จริงหรือ
ตำราแผนแพทย์ไทยที่ผสมยากัญชามีอะไรบ้าง
ข้อมูลในตำราพระโอสถพระนารายณ์ และตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พบตำรับยาไทยที่เข้ากับกัญชาอยู่หลายตำรับ ตัวอย่างเช่น
- ตำรับศุขไสยาศน์ สรรพคุณช่วยให้นอนหลับสบาย แก้ปวด เจริญอาหารนำใช้แทน/เสริมกับยาแผนปัจจุบันในกลุ่มยานอนหลับ ยาคลายเครียด
- ตำรับทำลายพระสุเมรุ มีฤทธิ์ช่วยแก้อาการแข็งเกร็งจากอัมพฤกษ์อัมพาต
- ตำรับน้ำมันสนั่นไตรภพ ช่วยเรื่องท้องมาน ท้องบวม คลายลมในท้อง ท้องอืดจากโรคมะเร็งตับ ใช้ทาบริเวณท้อง
- ตำรับทัพยาธิคุณ ช่วยเรื่องโรคเบาหวาน ลดน้ำตาล
(ที่มา จากนายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย)
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้
6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
- โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
- ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
- ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
- การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม
- โรคพาร์กินสัน
- โรคอัลไซเมอร์
- โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
- โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
- กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
- มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
- โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
- รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
- โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
- มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา
เว็บข่าวกัญชา :: weedbong420.com